Page 7 - รายงานผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ(coding)
P. 7
4
3.2 ขั้นตอนการดำเนินงานตามกระบวนการ PRADA MODEL
ขั้นที่ 1 (ขั้นการระบุปัญหาและเป้าหมายของการจัดการเรียนร : P - Problem)
ู้
่
กระบวนการสร้างความตระหนัก เป็นกระบวนการที่ทำให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ เอาใจใส รับรู้ เห็น
คุณคาในปรากฎการณ์ พฤติกรรมต่างๆ ทั้งที่เป็นรูปธรรม นามธรรมที่เกิดขึ้นในสังคม โดยมีขั้นตอน คือ (1)
่
ิ
กระตุ้นผู้เรียนด้วย สถานการณ์สมมต หรือภารกิจหุ่นยนต์ เช่น หุ่นยนต์ส่งของ หุ่นยนต์กู้ภัย (2) นักเรียน
วิเคราะห์ปัญหาและกำหนด Input – Process – Output ของหุ่นยนต์ และ (3) ใช้แนวคด
ิ
Computational Thinking (Decomposition, Abstraction, Algorithm Design) สรุป อภิปรายหา
่
ิ่
ข้อมูลหรือหลักฐานมาสนับสนุนคณคาของสงที่จะต้องตระหนักและวางเป้าหมายที่จะพัฒนาตนเองในเรื่อง
ู
นั้น
ขั้นที่ 2 (ขั้นการค้นคว้าและออกแบบแนวทางแก้ปัญหา : R - Research)
เป็นขั้นตอนที่ส่งเสริมให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการสร้างนวัตกรรม เช่น
หลักการทำงานของเซ็นเซอร์ มอเตอร์ และบอร์ดควบคุม และนักเรียนสามารถร่วมกันออกแบบ วางแผน
และร่างโครงสร้าง (Design Thinking) ทดลองใช้เครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมต่างๆ เช่น
Blockly, Python, Arduino, Microbit, KidBright ฯลฯ
ขั้นที่ 3 (ขั้นการลงมือสร้างและเขียนโปรแกรม : A - Apply)
กระบวนการปฏิบัติ ใช้กระบวนการตาม STEAM Design Process เป็นกระบวนการที่มุ่งสงเสริม
่
ให้เกิดการเชื่อมโยงความรู้ไปใช้แก้ปัญหา มีลำดับขั้นตอน ดังนี้
ี
1) ถาม (Ask) เป็นขั้นตอนที่ให้ผู้เรียนทำความเข้าใจและตความปัญหาเพื่อค้นหาสาเหตุของปัญหา
จากการสังเกต สอบถาม ค้นหา และศึกษาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ
2) จินตนาการ (Imagine) เป็นการให้ผู้เรียนได้ระดมความคด เพื่อกำหนดวิธีการ รูปแบบหรือ
ิ
แนวทางในการแก้ไขปัญหาที่หลากหลาย
3) วางแผน (Plan) จัดทำแผน รวมถึงรายการที่จำเป็นต้องดำเนินการในการแก้ไขปัญหาการ
ุ
ออกแบบเชิงวิศวกรรม และกำหนดรายละเอียดในการดำเนินการ การจัดทำรายการวัสดและอุปกรณ์ที่ต้อง
ใช้ในการดำเนินงาน
4) สร้างสรรค์ (Create) เป็นขั้นตอนที่ผู้เรียนลงมือดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ ซึ่งการสร้างสรรค ์
งานนั้นมีหลากหลายรูปแบบ เช่น แบบจำลอง, โมเดล 3 D, Simulation หรือ Hardware Testing เป็นต้น
ขั้นที่ 4 (ขั้นการทดสอบและแก้ไขข้อผิดพลาด : D - Debug)
เป็นขั้นตอนที่นักเรียนดำเนินการทดสอบการทำงานของหุ่นยนต์ นวัตกรรมที่สร้างขึ้น แล้วนำ
ิ
ผลลัพธ์ที่ได้มาวิเคราะห์ข้อผดพลาดและปรับปรุงโค้ด (Debugging) วิเคราะห์คณภาพของผลงาน
ุ
ประเมินผลการดำเนินงาน การรับฟังข้อเสนอแนะจากผู้อื่น เพื่อนำมาพัฒนาและปรับปรุงผลงานต่อไป